วันอังคารที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2562

มคอ.3 จิตวิทยาทั่วไป ปีการศึกษา2-61


 รายละเอียดของรายวิชา

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา         วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม
วิทยาเขต/คณะ/สาขาวิชา   คณะเทคโนโลยี                         สาขาวิชาเทคโนโลยียานยนต์

หมวดที่ 1  ข้อมูลทั่วไป
1.  รหัสและชื่อรายวิชา
                901-103,901-103   จิตวิทยาทั่วไป(General Psychology)
2.  จำนวนหน่วยกิต
                3 หน่วยกิต  (3-0-6)
3.  หลักสูตรและประเภทของรายวิชา
                หลักสูตรเทคโนยีบัณฑิต
   วิชาบังคับหมวดวิชาศึกษาทั่วไป
4.  อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา
                นาย กิจสดายุทต์  สังข์ทอง
5.  ภาคการศึกษา/ชั้นปีที่เรียน
              ภาคการศึกษาที่ 1/61  ปีที่ 2  ชั้นปีที่ 1
6.  รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (ถ้ามี)
            ไม่มี
7.  วิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (co-requisites) (ถ้ามี)
           ไม่มี
8.  สถานที่เรียน
            วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม   ตึก 9     ห้อง 9616
9.  วันที่จัดทำรายละเอียดของรายวิชา หรือวันที่มีการปรับปรุงครั้งล่าสุด
        3  มกราคม  2560
หมวดที่ 2  จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์
จุดมุ่งหมายของรายวิชา
ความหมายและความเป็นมาของวิชาจิตวิทยา อิทธิพลของพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อพฤติกรรมมนุษย์ พัฒนาการมนุษย์ พื้นฐานสรีระวิทยาของมนุษย์ การรับสัมผัส การรับรู้ การเรียนรู้ แรงจูงใจและอารมณ์ เชาว์ปัญญา บุคลิกภาพและการปรับตัว สุขภาพจิต พฤติกรรมผิดปกติและพฤติกรรมทางสังคม 
1.    นักศึกษาเข้าใจความหมายและความเป็นมาของวิชาจิตวิทยา อิทธิพลของพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อพฤติกรรมมนุษย์ในการดำเนินชีวิต หน้าที่การงานได้อย่างมีคุณธรรม ความสงบสุขด้วยความซื่อสัตย์สุจริต 
       1. 1  เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและความเป็นมาของจิตวิทยา อิทธิพลของพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อพฤติกรรมมนุษย์
1.2    เพื่อให้นักศึกษาได้มีทักษะความชำนาญพื้นฐานสรีระวิทยาของมนุษย์ และการรับสัมผัส
      1.3   เพื่อให้นักศึกษาได้ศึกษา พัฒนาการมนุษย์ การรับรู้ แรงจูงใจ พฤติกรรมผิดปกติและอารมณ์
1.4   เพื่อให้นักศึกษาสามารถเรียนรู้ พฤติกรรมทางสังคม เชาว์ปัญญา บุคลิกภาพและการ ปรับตัวได้
1.5  พื่อให้นักศึกษารู้จักรักษาสุขภาพจิตให้ดี  มีคุณธรรม มีความรับผิดชอบ ต่อตนเองสังคอย่างต่อเนื่องยิ่งๆขึ้นไปในการทำงานและการมีชีวิตอย่างมีความสุข
2.  วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา
              1.  เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ ความสามารถในการเรียนรู้  และพัฒนาตนเอง
             (Ability to Learn & Adapt to change)เช่นการมุ่งมันสู่ความสำเร็จ(Achievement Motivation)
ความกระตื้นรื้น(Energetic)ความมั่นใจในตัวเอง(Self- Confidence) ความน่าเชื่อถือหรือไว้ว่าใจได้
(Trust)การทุ่มเทในการทำงาน(Dedication to work)ทัศนคติเชิงบวกต่องาน(Positive attitude to
work)
              2.  เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับการการปฏิบัติตามคำสั่งของผู้บังคับบัญชาและถูกต้องตาม 
             ระเบียบวินัย การปฏิบัติงานโดยคำนึงถึงการใช้ทรัพยากร(Resources Utilization),การปฏิบัติตาม
             กฎระเบียบข้อบังคับในการทำงาน(Following Rules&Regulation)
            





หมวดที่ 3  ส่วนประกอบของรายวิชา
 1.  คำอธิบายรายวิชา
          ความหมายและความเป็นมาของวิชาจิตวิทยา อิทธิพลของพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อพฤติกรรมมนุษย์ พัฒนาการมนุษย์ พื้นฐานสรีระวิทยาของมนุษย์ การรับสัมผัส การรับรู้ การเรียนรู้ แรงจูงใจและอารมณ์ เชาว์ปัญญา บุคลิกภาพและการปรับตัว สุขภาพจิต พฤติกรรมผิดปกติและพฤติกรรมทางสังคม

2.  จำนวนชั่วโมงที่ใช้/ภาคการศึกษา
บรรยาย
สอนเสริม
การฝึกปฏิบัติ/งานภาคสนาม/การฝึกงาน
การศึกษาด้วยตนเอง
45 ชั่วโมง
ไม่มี
ไม่มี
90 ชั่วโมง

3.  จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล
     - อาจารย์ประจำรายวิชาประกาศเวลาให้คำปรึกษาแก่นักศึกษา
     - อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1ชั่วโมงต่อสัปดาห์               
        (เฉพราะรายที่ต้องการ)
หมวดที่ 4  การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
1.  ด้านคุณธรรม จริยธรรม
1.1  คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
                           -มีความขยันอดทนมีวินัยและตรงต่อเวลา
                           -ปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคมปลูกฝังความมีวินัย การทำงานได้ด้วยตัวเอง ตรงต่อเวลา ใฝ่รู้  ความซื่อสัตย์ และ ความรับผิดชอบ
            1.2  วิธีการสอน
  1.2.1  การอธิบาย/บรรยาย
  1.2.2  การอภิปราย/การใช้เหตุผล                                     
           1.2.3  การศึกษาค้นคว้ารายบุคคลหรือกลุ่ม
            1.2.4  การนำเสนอหน้าชั้นเรียน
            1.2.5  การใช้สื่อประกอบการสอน
            1.3  วิธีการประเมิน
                ประเมินจากพฤติกรรมในชั้นเรียน และนอกชั้นเรียน

2.  ความรู้
               2.1  ความรู้ที่จะได้รับ
      มีความรู้ด้านมนุษย์ศาสตร์ สังคมศาสตร์ และภาษาศาสตร์ในกลุ่มอาเซียนสามารถจัดการความคิดและความรู้และทักษะเกี่ยวกับทฤษฏี การแก้ปัญหา ความสำคัญเกี่ยวกับการประยุกต์จิตวิทยาได้อย่างมีประสิทธิภาพในการดำเนินชีวิตอย่างเข้าใจตน เข้าใจผู้อื่น มีจริยธรรมแบบสัมมาชีพที่เหมาะสมกับผู้เรียนและมาตรฐานการเรียนรู้ในบริบทของวิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม
            2.2  วิธีการสอน
                       การบรรยาย  การอภิปราย   การทำรายงานเดี่ยวและกลุ่ม การนำเสนอรายงานในชั้นเรียน การค้นคว้าด้วยตนเอง รวมทั้งกรณีศึกษาและ/หรือเชิญวิทยากรมาบรรยาย
                2.3  วิธีการประเมิน
                      ประเมินผลจากการเข้าชั้นเรียนตรงเวลา  การอภิปราย การทำรายงาน การค้นคว้า การสอบกลางภาคและปลายภาค   

3.  ทักษะทางปัญญา
            3.1  ทักษะทางปัญญา
                        สามารถจัดการความคิดและความรู้ คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และบรูณาการองค์ความรู้จากการถาม-ตอบ ด้านทฤษฎีการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง(Continuous Learning)และการควบคุมอารมณ์( Emotional Control)
            3.2  วิธีการสอน
                   ใช้กระบวนการกลุ่มในการ อธิบาย อภิปราย สะท้อนความคิด การคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ การทำใบงานต่าง ๆ ที่มอบหมาย  ตลอดภาคการศึกษา
            3.3  วิธีการประเมิน   
                ประเมินจากการเรียนการสอน การแสดงความคิดเห็นและการอภิปราย รายงานรายบุคคลและรายกลุ่ม  นำเสนอหน้าชั้นเรียนและจัดส่งผลการวิเคราะห์งานใบงานทุกสัปดาห์

4.  ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
                4.1  ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา
                  มีความรับผิดชอบต่อการเรียนรู้และการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง สร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้เรียน มีความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น มีความรับผิดชอบ ความร่วมมืออย่างสร้างสรรค์
                4.2  วิธีการสอน
                   ทำกิจกรรมกลุ่มในลักษณะต่างๆ อภิปราย/บรรยาย ถามตอบ และค้นคว้า ในชั้นเรียนและห้องสมุด
                      4.2.1 ด้านคุณธรรมจริยธรรม
                                       -มีความขยันอดทนมีวินัยและตรงต่อเวลา
                                      -ปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม              
                      4.2.2 ด้านความรู้
                                      -มีความรู้ด้านมนุษย์ศาสตร์ สังคมศาสตร์ และภาษาศาสตร์ในกลุ่มอาเซียน
                      4.2.3 ด้านทักษะทางปัญญา
                                      -สามารถจัดการความคิดและความรู้
                      4.2.4 ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
                                       -มีการเรียนรู้ มีทักษะและทัศนคติที่ดีในการทำงานเป็นทีม
                                       -มีความรับผิดชอบ
                     4.2.5 ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
                                      -มีทักษะการใช้คอมพิวเตอร์และทคโนโลยีสารสนเทศ
4.3  วิธีการประเมิน
                   ประเมินจากความรับผิดชอบในการปฏิบัติกิจกรรมในชั้นเรียน และประเมินจากผลการทำกิจกรรมกลุ่มและทำรายงาน

5.  ทักษะการวิเคราะห์ การสื่อสารการใช้เทคโนโลยีและภาษาสารสนเทศ
5.1  ทักษะการวิเคราะห์ การสื่อสารการใช้เทคโนโลยีและภาษาสารสนเทศที่ต้องพัฒน
     ใช้ภาษาพูด  ภาษาเขียน ในการสื่อสาร ใช้คอมพิวเตอร์/อินเตอร์เน็ตในการสืบค้นข้อมูลและจัดการข้อมูลอย่างเป็นระบบและถ่ายทอดภาษาและสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2  วิธีการสอน
                    การสอนโดยใช้ power point ประกอบการบรรยาย การทำรายงานโดยค้นคว้าข้อมูลจากหนังสือ   
     เอกสาร และอินเตอร์เน็ต
5.3  วิธีการประเมิน
               ประเมินผลจากงานที่มอบหมาย  การเสนอรายงานหน้าชั้นเรียนและรายงาน
หมวดที่ 5  แผนการสอนและการประเมินผล
1. แผนการสอน
สัปดาห์ที่
เนื้อหา
จำนวนชั่วโมง
กิจกรรมการเรียน
การสอน
ผู้สอน
1
- บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจิตวิทยาทั่วไป
- ความหมายและความสำคัญของจิตวิทยา
-ประวัติความเป็นมาของจิตวิทยา
-กลุ่มแนวคิดทางจิตวิทยา
-สาขาต่างๆของจิตวิทยา
- วิธีการค้นหาความจริงทางจิตวิทยา
-จรรยาบรรณของนักจิตวทยา
3
-แนะแนววิธีการศึกษา
-อธิบายโครงสร้างของวิชาพร้อมยกตัวอย่างประกอบ
- การบรรยาย
- การแก้ปัญหา
- นักศึกษาส่วนร่วมโดย ให้ผู้เรียนได้ ศึกษาจากเอกสาร ตำรา วารสาร แลกเปลี่ยนความรู้รวมทั้งแสดงความคิดเห็นใน หัวข้อที่กำหนด เช่นจิตวิทยามีความสำคัญอย่างไร และมีประโยชน์ต่อนักศึกษาอย่างไร?
 -ให้นศ.ช่วยกันสรุปและทบทวนความรู้ส.1
อ.กิจสดายุทต์ สังข์ทอง

  2-3
บทที่ 2 แรงจูงใจ
- ความหมายและความสำคัญของแรงจูงใจกระบวนการเกิดแรงจูงใจ  - ความต้องการที่เกิดจากสิ่งเร้าประเภทของแรงจูงใจแรงจูงใจพื้นฐานของมนุษย์ -ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับแรงจูงใจ
-แรงจูงใจจากการเรียนรู้ในชีวิตประจำวัน  - คำถามท้ายบท

   6
ศึกษาจากเอกสาร ตำรา วารสาร แลกเปลี่ยนความรู้รวมทั้งแสดงความคิดเห็นใน หัวข้อที่กำหนด เช่นแรงจูงใจมีความสำคัญอย่างไร และแรงจูงใจเป็นพื้นฐานของมนุษย์อย่างไร?
 -ให้นศ.ช่วยกันสรุปและทบทวนความรู้ส.2
- ทำแบบฝึกหัด ตอนที่  1และ2


4








บทที่ 3 การสัมผัสและการรับรู้
-ความเข้าใจเกี่ยวกับการสัมผัสและการรับรู้
-ประสาทสัมผัสและการแปลความหมาย
-การรับรู้และการแปลความหมาย
-การเข้าใจความสัมผัสตามแนวพุทธศาสนา -แนวทางการนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน
3











-บรรยาย
-แลกเปลี่ยนเรียนรู้/อภิปราย
ให้นักศึกษาวิเคราะห์เกี่ยวกับประสาทสัมผัสและการพร้อมยกตัวอย่างประกอบ -ให้นักศึกษามีส่วนร่วมโดย ให้ศึกษา ค้นคว้า จากเอกสาร ตำรา และInternes งานมอบหมายรื่อง การนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างไรแล้วนำมา present หน้าชั้นเรียน ร่วมกันแสดงความคิดเห็น
-ให้นศ.ช่วยกันสรุปและทบทวนความรู้ ส.3 
อ.กิจสดายุทต์ สังข์ทอง







5-6
บทที่ 4 พัฒนาการมนุษย์พันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม
 -ความสำคัญเกี่ยวกับการศึกษาพัมนาการของมนุษย์ พันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม
 - พันธุกรรม  - อิทธิพลของสิ่งแวดล้อมที่มีต่อบุคคลวุฒิภาวะ -พัฒนาการมนุษย์
-งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม
6
-บรรยาย
-ถาม ตอบ
-แลกเปลี่ยนเรียนรู้/อภิปราย
-มอบหมายงานกลุ่ม บ.6-10
- ทำแบบฝึกหัด
*งานกลุ่มมอบหมายรายงานและการนำเสนอหน้าชั้นเรียน*
(บท 6-10)
อ.กิจสดายุทต์ สังข์ทอง
7
บทที่ 5 พฤติกรรมทางสังคม
- ปัจจัยที่ทำให้มนุษย์ต้องมารวมกันเป้นสังคมและความหมายพฤติกรรมทางสังคม
- การรับรู้ทางสังคม(social perception)ที่มีต่อพฤติกรรมทางสังคม  - อิทธิพลของสังคมที่มีต่อพฤติกรรมทางสังคม 
- การประยุกต์จิตวิทยามาใช้ให้เหมาะกับสังคมกับการดำรงชีวิตในสังคม
3
-บรรยาย
-แลกเปลี่ยนเรียนรู้/อภิปราย
-การวิเคราะห์จุดเด่นและด้อยพฤติกรรมของตนและคนในสังคม
-มอบหมายรายงาน
- ทำแบบฝึกหัดตอนที่  1
-TEST 1
-สรุปบทเรียนบทที่  1-5
อ.กิจสดายุทต์ สังข์ทอง

8
    
สอบกลางภาค
( 26 ก.พ.61- 2 มี.ค.62 )


3

      เนื้อหาสัปดาห์ที่ 1-7      (บทที่ 1 – 5 )


สัปดาห์ที่
เนื้อหา
จำนวนชั่วโมง
กิจกรรมการเรียน
การสอน
ผู้สอน
9
 บทที่ 6 บุคลิกภาพและการวัด
-ความหมายของบุคลิกภาพ 
ทฤษฎีบุคลิกภาพ
-แนวคิดเกี่ยวกับบุคลิกภาพ
-การวัดและประเมินบุคลิกภาพ
-การปรับปรุงบุคลิกภาพ
- คำถามท้ายบท
3
-บรรยาย
- ฝึกการวิเคราะห์ทฤษฎีต่าง ๆ
-เสนองานมอบหมายหน้าชั้นเรียน
- ทำแบบฝึกหัด
อ.กิจสดายุทต์ สังข์ทอง
10
บทที่ 7    อารมณ์
- ความหมายและความสำคัญของอารมณ์
- การจัดประเภทอารมณ์
- การเกิดอารมณ์
-พัฒนาการทางอารมณ์ของมนุษย์
- การแสดงออกทางอารมณ์
-แนวทางการควบคุมอารมณ์ในชีวิตประจำวัน
3
-บรรยาย
-แลกเปลี่ยนเรียนรู้
-เสนองานมอบหมายหน้าชั้นเรียน
- ทำแบบฝึกหัด
อ.กิจสดายุทต์ สังข์ทอง
11-12
บทที่ 8 สติปัญญาและการวัด   
                 -ความหมายของสติปัญญา
 -อิทธิพลของพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อมต่อการพัฒนาสติปัญญา 
 -การวัดสติปัญญา
  -ตัวแปรเกี่ยวกับความสามารถทางสติปัญญา
  -สติปัญญาในการดำเดินชีวิตประจำวัน
3
-บรรยาย
-แลกเปลี่ยนเรียนรู้
-เสนองานมอบหมายหน้าชั้นเรียน
- ทำแบบฝึกหัดตอนที่  2
อ.กิจสดายุทต์ สังข์ทอง
13-14
บทที่ 9 สุขภาพจิต
- ความหมายของสุภาพจิตและสาเหตุที่ก่อให้เกิดปัญหาต่อสุขภาพจิต
- ลักษณะของบุคคลที่มีสุขภาพที่ดีและลักษณะผู้มีปัญหาด้านสุขภาพจิต
-ประเภทของความผิดปกติทางจิตและสาเหตุที่ก่อให้เกิดความผิดปกติทางจิต
- วิธีการบำบัดรักษาผู้มีอาการทางจิตและการส่งเสริมสุขภาพจิตที่ดีให้กับตนเอง

6
-อภิปราย
-เสนองานมอบหมายหน้าชั้นเรียน
- ทำแบบฝึกหัดตอนที่  1
อ.กิจสดายุทต์ สังข์ทอง
15
บทที่ 10 การปรับตัว
-การปรับ คืออะไร
-ความเข้าใจเรื่องความเครียด
-ความคับข้องใจกับกลไกป้องกันจิต
-ความขัดแย้งกับการปรับตัว
-พุทธศาสนากับการปรับตัว

3
-บรรยาย
-แลกเปลี่ยนเรียนรู้
-เสนองานมอบหมาย
- ทำแบบฝึกหัด

อ.กิจสดายุทต์ สังข์ทอง


16


สอบปลายภาค ( 23 -27 เม.ย. 62 )                 เนื้อหาสัปดาห์ที่  9-15   (บทที่ 6– 10 )



2.  แผนการประเมินผลการเรียนรู้
กิจกรรมที่
ผลการเรียนรู้*
วิธีการประเมิน
กำหนดการประเมิน (สัปดาห์ที่)
สัดส่วนของการประเมินผล
1
วิเคราะห์กรณีศึกษา ค้นคว้าการนำเสนอรายงาน
รายงานและการนำเสนอรายงาน
ตลอดภาคการศึกษา
20

การทำงานกลุ่มและผลงาน
การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความเห็นในชั้นเรียน
การส่งงงานตามมอบหมาย



2
ความรับผิดชอบงานที่มอบหมาย
การส่งงงานตามมอบหมายตรงเวลา

10
3
ความรู้
สอบกลางภาค    
9
30
4
ความรู้
สอบปลายภาค
18
30
5
มีความขยัน,อดทน และมีวินัย
การเข้าชั้นเรียนตรงเวลา     
ตลอดภาคการศึกษา
10
* ระบุผลการเรียนรู้หัวข้อย่อยตามที่ปรากฏในแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบของรายวิชาของรายละเอียดของหลักสูตร (แบบ มคอ. 2)
                   หมวดที่ 6  ทรัพยากรประกอบการเรียน
1.  ตำราและเอกสารหลัก
         1. เติมศักดิ์ คทวณิช ผศ. “จิตวิทยาทั่วไป ” กรุงเทพมหานคร พิมพ์ที่บริษัท . เอเชียเพรส จำกัด,2549               
         2. สุช  จันทร์เอม  จิตวิทยาทั่วไป  กรุงเทพ:โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช,2539
         3. จิราภา เต็งไตรรัตน์และ  จิตวิทยาทั่วไป  กรุงเทพ:  สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,2547       
         4. วิภาพร มาพบสุข.  จิตวิทยาทั่วไป  กรุงเทพ:โรงพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ,2540                    
         5. มุกดา ศรียงค์และคณะ. จิตวิทยาทั่วไปกรุงเทพ:พิมพ์ที่มหาวิทยาลัยรามคำแหง,2544                   
         6. กัลยา สุวรณแสง จิตวิทยาทั่วไปกรุงเทพ:รวมสาสน์ พิมพ์ครั้งที่ 5,2544                   
         7. ดวงกมล เวชบรรยงรัตน์และคณะ  จิตวิทยาทั่วไปกรุงเทพ:พิมพ์ที่มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,2539                   
         8. พิศสมัย วิบูลย์สวัสดิ์  จิตวิทยาทั่วไปเชียงใหม่ :โรงพิมพ์ช้างเผือก,2527
         9. สมพร สุทัศนีย์  การทดสอบทางจิตวิทยา  กรุงเทพ:สำนักพิมพืแห่งจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,  2544.
       10. ประมวล ดิคคินสัน จิตวัฒนา จิตวิทยาเบื้องต้นกรุงเทพ:ไทยวัฒนาพานิช พิมพ์ครั้งที่2,2524.
       11. Matlin,M.W.Psychology.U.S.A. : Harcourt Brace Jovanovich College Publisher,1992.
       12. Spear,P.D.,Renrod,S.D.,Barker,T.B. Psychology : Perspection on  Behaviour.New York : John Wiley &
             Sons,1988.
       13. Vogel, J.L. Thinking about Psychology. Chicago : Nelson-hall,1985.
2.             เอกสารและข้อมูลสำคัญ   -ไม่มี
3.             เอกสารและข้อมูลแนะนำ  -เว็บไซด์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในรายวิชา เช่น http:// Psychology -stu.blogspot.com, http://www.pantown.com/, http://dit.dru.ac.th เป็นต้น

หมวดที่ 7  การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของรายวิชา
1.  กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
                1.1  ประเมินผลการสอนโดยใช้ระบบออนไลน์
               1.2  สอบถามความคิดเห็นจากนักศึกษาในสัปดาห์สุดท้าย
2.  กลยุทธ์การประเมินการสอน
2.1 ผลการสอบ
3.  การปรับปรุงการสอน
              3.1  นำผลการประเมินมาใช้ในการปรับปรุงการสอน ,3.2  ค้นคว้าข้อมูลความรู้ใหม่ๆนำมาใช้ในการสอน, 3.3  กลุ่มคณาจารย์จัดอภิปราย/สัมมนาเพื่อพัฒนารายวิชาให้มีสาระวิชาและการสอนให้เหมาะสมและน่าสนใจ
4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์รายวิชาของนักศึกษา
              4.1  ให้นักศึกษาได้มีโอกาสตรวจสอบคะแนนและเกรดก่อนส่งเกรดให้สำนักทะเบียนและประมวลผล
4.2  ก่อนการสอบกลางภาคและปลายภาค จัดประชุมคณาจารย์เพื่อออกข้อสอบร่วมกับการพัฒนาข้อสอบเพื่อให้ได้มาตรฐาน
5.  การดำเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
นำผลที่ได้จากการสอบถามความคิดเห็น คะแนนสอบของนักศึกษา การประชุม นำมาสรุปผลและพัฒนารายวิชาก่อนการสอนในภาคการศึกษาต่อไป



ลงชื่อ...................................................................           วันที่รายงาน.............................................................
           ( นาย กิจสดายุทต์ สังข์ทอง )                           

1 ความคิดเห็น:

  1. Your Affiliate Money Making Machine is ready -

    And making money online using it is as simple as 1 . 2 . 3!

    Here's how it all works...

    STEP 1. Input into the system which affiliate products you want to promote
    STEP 2. Add some PUSH BUTTON TRAFFIC (it LITERALLY takes JUST 2 minutes)
    STEP 3. Watch the affiliate products system grow your list and sell your affiliate products on it's own!

    Are you ready to make money ONLINE???

    The solution is right here

    ตอบลบ